นโยบายยาความเสี่ยงสูง โรงพยาบาลกาฬสินธุ์

แนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกันอันตรายจากยาความเสี่ยงสูง

วิธีการเพื่อป้องกันอันตราย

วิธีการติดตาม

รายการยาความเสี่ยงสูงโรงพยาบาลกาฬสินธุ์

กลุ่มที่ต้องติดตามภาวะเลือดออกผิดปกติ กลุ่มที่ต้องติดตามอัตราการหายใจ กลุ่มที่ต้องติดตามอัตราการเต้นของหัวใจ
Warfarin Digoxin IV Morphine
Enoxaparin Adrenaline IV Pethidine
Heparin RI IV Diazepam
KCl inj.
MgSO4
3%NaCl

บทบาทสำคัญของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องแต่ละกระบวนการใช้ยา

กระบวนการ ผู้เกี่ยวข้อง การปฏิบัติ
นโยบาย PTC สหสาขาวิชาชีพ กำหนดมาตรฐานสำหรับการปฏิบัติ
การจัดหายา เภสัชกร 1. จัดหายาที่มีคุณภาพ
2. วิเคราะห์ความเสี่ยงเรื่องความแรง LASA
การสั่งใช้ แพทย์ 1. คำสั่งใช้ยาที่ชัดเจน สื่อสารได้เข้าใจง่าย
2. สั่งใช้ในชื่อสามัญทางยา เช่น Warfarin, Enoxaparin
3. หน่วยปริมาณให้เขียนด้วยตัวเต็ม ไม่ใช้ตัวย่อ เช่น Unit
4. ติดตามผลลัพธ์หลังการใช้ยาทุก dose
การตัดและจ่ายยา เภสัชกร 1. ติดสติ๊กเกอร์เตือน HAD สีแดงที่บรรจุภัณฑ์ทุกครั้ง
2. ตรวจสอบคำสั่งใช้ ชนิด ขนาดยา สภาวะผู้ป่วยก่อนจ่ายยา
การเตรียมยา พยาบาล 1. มีแนวทาง double checks โดยอิสระแก่กันไปใช้เมื่อมีความเหมาะสม
2. มีการบันทึกหลักฐานการเตรียมยา
การบริหารยา พยาบาล 1. มีแนวทาง double checks โดยอิสระแก่กันไปใช้เมื่อมีความเหมาะสม
2. มีการบันทึกหลักฐานการบริหารยา ระบุชนิดของยา อัตราการให้ เวลาเริ่มและเวลาสิ้นสุด
3. มีป้ายบ่งชี้ผู้ป่วยที่ได้รับยา HAD
การติดตาม แพทย์, พยาบาล, เภสัชกร 1. ติดตามตามแนวทาง Monitoring chart
2. ติดตามความคลาดเคลื่อนทางยาและอาการไม่พึงประสงค์จากยา HAD
การวิเคราะห์ผลลัพธ์ เภสัชกร รวบรวมผลการติดตาม สรุป นำเสนอ PTC สหสาขาวิชาชีพ พัฒนาร่วมกัน

รายละเอียดการติดตามผลการใช้ยาความเสี่ยงสูง

กลับหน้าก่อนหน้า